การแข่งขันกีฬาเรือยาวขุดประเพณีประจำปี ๒๕๖๑
‘’ หงส์ทองมหกรรมเรือยาวขุดประเพณี ‘’
สรุปผลการแข่งขัน
– ประเภทเรือยาวโบราณ 35 ฝีพาย ( ประเภท ก1. )
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 4 ได้แก่ เรือแม่ไพรคำสอน จ.อุบลราชธานี
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 3 ได้แก่ เรือเทพศิริหงษ์ทอง จ.อุบลราชธานี
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 2 ได้แก่ เรือแก้วตาแม่ จ.อุบลราชธานี
รางวัลชนะเลิศ อันดับที่ 1 ได้แก่ เรือนางสาวสไบทอง จ.ศรีสะเกษ
– ประเภทเรือยาวโบราณ 35 ฝีพาย ( ประเภท ก2. )
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 4 ได้แก่ เรือเจ้าพ่อขุนจง จ.ยโสธร
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 3 ได้แก่ เรือนางสาวทองใบ จ.ศรีสะเกษ
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 2 ได้แก่ เรือนางนาคแก้ว จ.ศรีสะเกษ
รางวัลชนะเลิศ อันดับที่ 1 ได้แก่ เรือคำปลิวสีชมพู จ.สกลนคร
– ประเภทเรือยาวโบราณไม่เกิน 30 ฝีพาย ( ประเภท ก1. )
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 4 ได้แก่ เรือคนสวยเมืองเพชร จ.เพชรบุรี
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 3 ได้แก่ เรือตะเคียนทอง จ.สกลนคร
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 2 ได้แก่ เรือเทพเรืองฤทธิ์ จ.อุบลราชธานี
รางวัลชนะเลิศ อันดับที่ 1 ได้แก่ เรือย่าจันมี จ.อุบลราชธานี
– ประเภทเรือยาวโบราณไม่เกิน 30 ฝีพาย ( ประเภท ก2. )
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 4 ได้แก่ เรือย่าบุญโฮม จ.อุบลราชธานี
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 3 ได้แก่ เรือแม่แก้ววราภรณ์ จ.อุบลราชธานี
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 2 ได้แก่ เรือเภตารัตน์ จ.นครราชสีมา
รางวัลชนะเลิศ อันดับที่ 1 ได้แก่ เรือเจ้าพ่อลือคำหาญ จ.อุบลราชธานี
– ประเภทเรือยาวโบราณไม่เกิน 30 ฝีพาย ( ประเภท ข. )
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 3 ได้แก่ เรือเพชรอิสาน จ.อุบลราชธานี
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 2 ได้แก่ เรือพรพระองค์ดำ จ.อุบลราชธานี
รางวัลชนะเลิศ อันดับที่ 1 ได้แก่ เรือย่าคำหาด จ.อุบลราชธานี
– ประเภทเรือยาวโบราณไม่เกิน 40 ฝีพาย ( ประเภท ก1. )
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 4 ได้แก่ เรือเพชรภูคำ จ.อุบลราชธานี
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 3 ได้แก่ เรือยอดขุนพล จ.อุบลราชธานี
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 2 ได้แก่ เรือเจ้าแม่ตะเคียนแก้ว จ.อุบลราชธานี
รางวัลชนะเลิศ อันดับที่ 1 ได้แก่ เรือเพชรน้ำหนึ่ง จ.อำนาจเจริญ
– ประเภทเรือยาวโบราณไม่เกิน 40 ฝีพาย ( ประเภท ก2. )
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 4 ได้แก่ เรืออินทร์แปลง จ.กาฬสินธุ์
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 3 ได้แก่ เรือเทพพายุ จ.อำนาจเจริญ
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 2 ได้แก่ เรือขนุนทอง จ.อุบลราชธานี
รางวัลชนะเลิศ อันดับที่ 1 ได้แก่ เรือคำปลิวละอองลม จ.อุบลราชธานี
– ประเภทเรือยาวโบราณไม่เกิน 40 ฝีพาย ( ประเภท ข. )
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 4 ได้แก่ เรือศรีไศล จ.ศรีสะเกษ
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 3 ได้แก่ เรือเทพพิมลทอง จ.สกลนคร
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 2 ได้แก่ เรือพญานาคราช จ.กาฬสินธุ์
รางวัลชนะเลิศ อันดับที่ 1 ได้แก่ เรือขุนฤทธ์ จ.นครราชสีมา
– ประเภทเรือยาวโบราณไม่เกิน 50 ฝีพาย ( ประเภท ก1. )
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 4 ได้แก่ เรือเทพมณีรัตน์ จ.สกลนคร
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 3 ได้แก่ เรือสาวภูไท จ.มุกดาหาร
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 2 ได้แก่ เรือเทพอัมรินทร์วารี จ.อุบลราชธานี
รางวัลชนะเลิศ อันดับที่ 1 ได้แก่ เรือขุนทัพ จ.อุบลราชธานี
– ประเภทเรือยาวโบราณไม่เกิน 50 ฝีพาย ( ประเภท ก2. )
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 4 ได้แก่ เรือศรีสตึก จ.บุรีรัมย์
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 3 ได้แก่ เรือเทพนิมิตร จ.อุบลราชธานี
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 2 ได้แก่ เรือหนุ่มเมืองอาจ จ.ร้อยเอ็ด
รางวัลชนะเลิศ อันดับที่ 1 ได้แก่ เรือเจ้าแม่คำไหล จ.ศรีสะเกษ
– ประเภทเรือยาวโบราณไม่เกิน 50 ฝีพาย ( ประเภท ข. )
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 3 ได้แก่ เรือแก้วมณีทอง จ.อุบลราชธานี
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 2 ได้แก่ เรือศรพระยา จ.อุบลราชธานี
รางวัลชนะเลิศ อันดับที่ 1 ได้แก่ เรือศรอุบล จ.อุบลราชธานี